กองทุน มะอาริฟ

“เป็นกองทุนอิสลามเพื่อการกุศล ที่มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตพี่น้องมุสลิม”

วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2552

แนวข้อสอบเตาฮีด ชั้น 5 คร๊าบ

أ- إملأ الفراغ الآتي بالكلمات الآتية :- (10 درجات (الصفحة 34-35)
ب. اكتب أسماء الصحابة في الأماكن المعدة ؟ (10 درجات
ج. ضع علامة (√) أمام الجملة الصحيحة الآتية (5
1. النفاق العملي لا يخرج من الملة. 2. الكفر الأصغر يخرج من ملة الاسلام
3. خاتم النبيين معناه لا نبي بعده. 4. الكفر الأكبر لا يخرج من ملة الاسلام 5. من علامة حب النبي طاعته في أمره فقط.
د. وافق العبارات المناسبة بين المجموعة الأولى والثاني الآتية :- (5
المجموعة الأولى
المجموعة الثانية
كفر التكذيب
الكفر الأصغر
النفاق الإعتقادي
النفاق العملي
الواجب على المسلم للرسول
الإيمان بانه رسول الله حقا
إذا حدث كذب
كفر النعمة
بغض الرسول
التكذيب بالقرآن ورفض شريعة الله
ر. أجب عن الأسئلة الآتية :- (10)
1. ماهو الكفر ؟ 2. كم أقسام الكفر؟ واذكرها ؟ 3. ماهو النفاق ؟ 4. كم أقسام النفاق ؟ واذكرها ؟ 5. أذكر الفرق بين النفاق الإعتقادي والنفاق العملي ؟ 6. لمن أرسل الرسول ؟ 7. ما الشفاعة التي يتخلى عنها أولى العزمي من الرسول ؟ 8. أذكر ثلاثا من أنواع النفاق الإتقادي ؟ 9. أذكر ثلاثا من أنواع النفاق العملي ؟ 10. ما معنى خاتم النبيين ؟

โครงงานคุณธรรม

ชื่อโครงงาน ละหมาดสู่คุณธรรม
ชื่อผู้จัดทำโครงงาน กลุ่มนักเรียนโรงเรียนบ้านตาลีอายร์
ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4—6
อาจารย์ที่ปรึกษา 1. นายดอแม นาเดร์
2. นายภานุ วาแม็ง
3. นางนินูรียะห์ เจ๊ะอาลี
ปีการศึกษา 2551

บทคัดย่อ
โครงงาน เรื่องละหมาดสู่คุณธรรม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจในการละหมาด
2) เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัยตรงต่อเวลาในการละหมาด 3) เพื่อให้นักเรียนได้รู้คุณค่าในการละหมาด
4) เพื่อสร้างนักเรียนให้เป็นแบบอย่างแก่ชุมชน 5) เพื่อให้นักเรียนมีการนำคุณธรรมของการละหมาดและ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน 6)เปรียบเทียบนักเรียนที่ละหมาดในแต่ละช่วงเวลาและแต่ละชั้นเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6
โรงเรียนบ้านตาลีอายร์ จำนวน 63 คน โดยใช้แบบบันทึกการละหมาดประจำวันเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการดำเนินงาน พบว่า
1) เปรียบเทียบนักเรียนที่ละหมาดในแต่ละช่วงเวลาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 พบว่า จำนวนนักเรียนที่ละหมาดในช่วงเวลาแตกต่างกัน คือ นักเรียนที่ละหมาดในเวลาซุฮรี อยู่ในระดับมาก
(65.48 %) รองลงมาในเวลามัฆริบ (64.09 %) อัสรี (63.44 %) อีซา (60.62%) และซุบฮี (53.61%) ตามลำดับ
2) เปรียบเทียบนักเรียนชายและหญิงที่ละหมาดในแต่ละช่วงเวลา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6
พบว่า จำนวนนักเรียนชายและหญิงที่ละหมาดในช่วงเวลาแตกต่างกัน คือ นักเรียนชายที่ละหมาดในเวลาซุฮรี อยู่ในระดับมาก (74.00 %) รองลงมาในเวลามัฆริบ (64.17 %) อัสรี (62.25 %) อีซา (59.06%) และซุบฮี (52.76%) ตามลำดับ ส่วนนักเรียนหญิงละหมาดในเวลาซุฮรี อยู่ในระดับมาก (80.56 %) รองลงมาในเวลา อัสรี (64.74 %) มัฆริบ (63.74 %) อีซา (62.34 %) และซุบฮี (54.53 %) ตามลำดับ
3) เปรียบเทียบนักเรียนที่ละหมาดในแต่ละชั้นเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 พบว่า นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีการละหมาดอยู่ในระดับมาก (80.32 %) รองลงมานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
(60.16 %) และ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (48.53 %) ตามลำดับ